ผังมโนทัศน์
ปฏิทินการเรียนรู้รายวิชา
คณิตศาสตร์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจำ Quarter 4 ปีการศึกษา 2/2558
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประจำ Quarter 4 ปีการศึกษา 2/2558
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์ : ทบทวนเนื้อหาเดิม
- การบวก
- การลบ
Key Quarter :
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจาก Quarter
ที่ผ่านมา?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
-
ทบทวนการบ้านช่วงปิดเรียน Quarter 3 พร้อมแสดงวิธีการคิดและให้เหตุผล
-
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนมาใน Quarter 3 (การบวก การลบ )
-
ครูตั้งโจทย์ปัญหาการการบวก และการลบ เพื่อกระตุ้นการคิด
-
แลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหา
-
แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกระบวนการคิด พร้อมแสดงวิธีคิดจากโจทย์ปัญหา
|
ภาระงาน
สนทนาและเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้
ชิ้นงาน
สร้างโจทย์ปัญหาการคูณและการหารพร้อมแสดงวิธีการคิดที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเกิดความรู้สึกเชิงจำนวน
มีความเข้าใจเกี่ยวกับการบวกและการลบมากขึ้น สามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาเพื่อนำไปดำเนินการบวกและการลบได้
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
2 - 3
|
โจทย์ :
- การบวก
- การลบ
- ความสัมพันธ์การบวกและการลบ
Key Quarter :
นักเรียนจะนำกระบวนการคิดของการบวก
และการลบไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างบ้าง?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ทบทวนความรู้จากสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูสร้างโจทย์ปัญหาการบวก เพื่อกระตุ้นการคิด
-
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการบวก
-
ครูสร้างโจทย์ปัญหาการลบ เพื่อกระตุ้นการคิด
-
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการลบ
-
นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
-
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
|
ภาระงาน
สนทนาและเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้
ชิ้นงาน
- ใบงาน
- แก้โจทย์ปัญหา
- สร้างโจทย์ปัญหา
|
ความรู้
นักเรียนเกิดความรู้สึกเชิงจำนวน
เห็นความสัมพันธ์ของการบวกและการลบสามารถแก้ปัญหาสร้างกระบวนการคิดที่หลากหลาย
และวางแผนเพื่อปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
4 – 6
|
โจทย์ :
- การคูณ
- การหาร
- ความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร
Key Quarter :
นักเรียนคิดว่าการคูณและการหารเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
มีความสัมพันธ์กันหรือไม่อย่างไร?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
-
ทบทวนความรู้จากสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ทบทวนเกี่ยวกับการคูณและการหารโดยเริ่มจากจำนวน 1 หลัก 2 หลักและ 3 หลักตามลำดับ
-
ครูสร้างโจทย์ปัญหาการคูณ เพื่อกระตุ้นการคิด
- สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการคูณ
-
ครูสร้างโจทย์ปัญหาการหาร เพื่อกระตุ้นการคิด
-
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการหาร
-
นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
-
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร
|
ภาระงาน
สนทนาและเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้
ชิ้นงาน
- ใบงาน
- สร้างโจทย์ปัญหาการคูณ และการหาร
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ
สามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาในรูปแบบต่างๆ เพื่อนำมาดำเนินการคูณและการหารได้
อีกทั้งมองเห็นความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร
สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
7
|
โจทย์ : เศษส่วน
Key Quarter :
นักเรียนจะแบ่งของแต่ละชิ้นอย่างไรให้มีส่วนที่เท่าๆ
กัน?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- กระดาษ
- ผลไม้
- ดินน้ำมัน
|
- นักเรียนสังเกตผลไม้
พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
-
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการแบ่งของแต่ละชิ้นให้มีส่วนที่เท่าๆ
กัน (สื่อจริง/ปฏิบัติ)
-
นักเรียนแบ่งผลไม้พร้อมอ่านค่าเศษส่วน (ภาษาธรรมชาติ)
-
แบ่งกระดาษ, ดินน้ำมันพร้อมอ่านค่าเศษส่วน (ภาษาธรรมชาติ)
-
นักเรียนวาดภาพระบายสีพร้อมอ่านค่าเศษส่วน (กึ่งรูปธรรม)
-
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการอ่านค่าเศษส่วน
-
เปรียบเทียบเศษส่วน (มากกว่า, น้อยกว่า)
|
ภาระงาน
- สนทนาและเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้
- เตรียมอุปกรณ์ในการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- ใบงาน
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ
และสามารถอ่านค่าเศษส่วนได้
อีกทั้งสามารถเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่าได้
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
8 – 9
|
โจทย์ : การหาพื้นที่ 2 มิติ(สามเหลี่ยม, สี่เหลี่ยม)
Key Quarter :
นักเรียนจะรู้ได้อย่างไรว่าแต่ละรูปมีพื้นที่เท่าไร?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ตารางหน่วย
|
-
นักเรียนหาเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยมโดยการนับช่องตาราง
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการหารเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยม
-
นักเรียนหาพี้นที่รูปสี่เหลี่ยมโดยการนับช่องตาราง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าเราจะสามารถหาเส้นรอบรูป
และหาพื้นที่โดยวิธีอื่นได้หรือไม่”
-
นักเรียนสังเกตรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “เหมือนหรือต่างกันอย่างไร,
คิดว่าทั้งสองรูปมีความสัมพันธ์กันหรือไม่อย่างไร”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นความสัมพันธ์รูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
-
นักเรียนหาเส้นรอบรูป และหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
|
ภาระงาน
สนทนาและเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้
ชิ้นงาน
- ใบงาน
-
หาพื้นที่ 2 มิติ, 3
มิติ
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ
และสามารถหาพื้นที่ เส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมได้
อีกทั้งเห็นความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
10
|
โจทย์ :
- ทบทวนความรู้เดิม
- สรุปองค์ความรู้
Key Quarter :
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter
นี้?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนโจทย์ปัญหา และการดำเนินการบวก
-
ครูและนักเรียนทบทวนโจทย์ปัญหา และการดำเนินการลบ
-
ครูและนักเรียนทบทวนความสัมพันธ์การบวกและการลบ
-
ครูและนักเรียนทบทวนโจทย์ปัญหา และการดำเนินการคูณ
-
ครูและนักเรียนทบทวนโจทย์ปัญหา และการดำเนินการหาร
-
ครูและนักเรียนทบทวนความสัมพันธ์การคูณ และการหาร
-
ทบทวนความรู้ต่อจากสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
สรุปสิ่งที่ได้เรียนมาใน Quarter นี้
-
นำเสนอองค์ความรู้
|
ภาระงาน
สนทนาและเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้
ชิ้นงาน
- ทำใบงาน
-
สรุปองค์ความรู้
|
ความรู้
นักเรียนเกิดความรู้สึกเชิงจำนวน
เข้าใจสามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการคูณ และการหาร มีทักษะด้านการดำเนินการบวก
การลบ การคูณ และการหาร เห็นความสัมพันธ์ของตัวเลขและเครื่องหมาย
พร้อมทั้งสามารถถ่ายทอดความเข้าใจโดยการพูดอธิบายและให้เหตุผลได้
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2551
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
มาตรฐานหลักสูตร
|
ตัวชี้วัด
|
สาระที่ 1
จำนวนและการดำเนินการ
|
|
ค1.1 ป.3/1
|
- เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสน
และศูนย์
|
ค1.1 ป.3/2
|
-
เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์
|
ค1.2 ป.3/1
|
- บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ
หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
|
ค1.2 ป.3/2
|
-
วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน
และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
|
สาระที่ 2 การวัด
|
|
ค2.1 ป.3/1
|
- บอกความยาวเป็นเมตร เซนติเมตร และมิลลิเมตร เลือกเครื่องวัดที่เหมาะสมและเปรียบเทียบความยาว
|
ค2.1 ป.3/2
|
- บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัม กรัม และขีด
เลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสมและเปรียบเทียบน้ำหนัก
|
ค2.1 ป.3/3
|
- บอกปริมาตรและความจุเป็นลิตร มิลลิลิตร เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสมและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุในหน่วยเดียวกัน
|
ค2.1 ป.3/4
|
- บอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา (ช่วง 5 นาที) และอ่านเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด
|
ค2.1 ป.3/5
|
- บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดความยาว น้ำหนัก
และเวลา
|
ค2.1 ป.3/6
|
- อ่านและเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุด
|
ค2.2 ป.3/1
|
- แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั่ง การตวง เงิน และเวลา
|
ค2.2 ป.3/2
|
- อ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
|
ค2.2 ป.3/3
|
- อ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา
|
สาระที่ 3 เรขาคณิต
|
|
ค3.1 ป.3/1
|
-
บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เป็นส่วนประกอบของสิ่งของที่มีลักษณะเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ
|
ค3.1 ป.3/2
|
-
ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรจากรูปที่กำหนดให้
|
ค3.1 ป.3/3
|
-
เขียนชื่อจุด
เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม
และเขียนสัญลักษณ์
|
ค3.2 ป.3/1
|
-
เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติที่กำหนดให้ในแบบต่างๆ
|
ค3.2 ป.3/2
|
-
บอกรูปเรขาคณิตต่างๆ ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัว
|
สาระที่ 4 พีชคณิต
|
|
ค4.1 ป.3/1
|
-
บอกจำนวนและความสัมพันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3
ทีละ 4 ทีละ 25 ทีละ 50 และลดลงทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 ทีละ 50 และแบบรูปซ้ำ
|
ค4.1 ป.3/2
|
-
บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสีที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
|
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
|
|
ค5.1 ป.3/1
|
-
รวบรวมและจำแนกข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน
|
ค5.1 ป.3/1
|
-
อ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่งอย่างง่าย
|
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
|
|
ค6.1 ป.3/1
|
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
|
ค6.1 ป.3/2
|
-
ใช้ความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
ได้อย่างเหมาะสม
|
ค6.1 ป.3/3
|
-
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
|
ค6.1 ป.3/4
|
-
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
|
ค6.1 ป.3/5
|
-
เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์ และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
|
ค6.1 ป.3/6
|
-
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|